Advertisment

โปรแกรมวิเคราะห์งบการเงิน PDP

:: PDP Financial Reporter and Writer ::


ราคาโปรโมชั่น 10,000 บาท


โปรแกรมวิเคราะห์งบการเงินสามารถดูและพิมพ์งบการเงินต่างๆ เช่น งบดุล งบกำไรขาดทุน งบต้นทุนขาย งบต้นทุนการผลิต งบการแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน ผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบ หรือ อาศัยรูปแบบที่มีอยู่แล้วได้ รูปแบบงบการเงินสามารถใช้กับบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ได้

ตัวอย่างหน้าจอโปรแกรมวิเคราะห์งบการเงิน

ตัวอย่างหน้าจอโปรแกรมวิเคราะห์งบการเงิน

รายละเอียดและคุณสมบัติโปรแกรมวิเคราะห์งบการเงิน

  • กำหนดรหัสและชื่องบการเงินได้เอง รองรับงบการเงินได้ ทุกประเภท อาทิ งบดุล, งบกำไรขาดทุน, งบต้นทุนขาย, งบต้นทุนการผลิต, รายละเอียดประกอบงบต่างๆ
  • รองรับงบการเงินของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ อาทิ
  • งบกระแสเงินสด (ตามพระราชบัญญัติการบัญชี 2543 ให้บริษัทจำกัด ต้องยื่นงบกระแสเงินสดด้วย)
  • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนผู้ถือหุ้น
  • งบกำไรสะสม
  • กำหนดรูปแบบงบการเงินได้เอง อาทิ
    • รายการในแต่ละบรรทัด
    • การจัดย่อหน้าของรายการ
    • การขีดเส้นใต้ตัวเลข ทั้งเส้นเดี่ยวและเส้นคู่
    • กำหนดสูตรต่างๆ ที่ต้องใช้ได้เอง
  • กำหนดเปอร์เซ็นต์การกระจายรายได้ ค่าใช้จ่ายเข้า ฝ่าย/ แผนก/ โครงการ/ งาน
  • ความสามารถในการเลือกดู/พิมพ์งบการเงินได้ตาม บริษัท/ สาขา/ ฝ่าย/ แผนก (Profit / Cost Center) และตามรหัสงานหรือโครงการ
  • ทำงบการเงินรวมของหลาย บริษัท/ สาขา/ ฝ่าย/ แผนกได้ (Consolidate)
  • สามารถออกแบบ งบดุล/ งบกำไรขาดทุน/ งบต้นทุนการผลิต/ งบต้นทุนขาย/ รายละเอียดประกอบงบต่างๆ ได้เอง
  • มีงบกระดาษทำการที่สามารถเลือกดู/พิมพ์ได้ตาม บริษัท สาขา แผนก
  • Layout ของงบการเงินมีให้เลือกดู/พิมพ์ 10 Layout
    1. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานสะสมถึงงวดนี้กับผลการ ดําเนินงานสะสม
    2. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับประมาณการของงวดนี้ กับผลการดําเนินงานสะสม
    3. เปรียบเทียบผลการดําเนินงาน ประมาณการและเปอร์เซ็นต์เทียบกับผลรวมของวดนี้กับผลการดําเนินการสะสม
    4. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของงวดนี้ กับงวดที่แล้ว
    5. เปรียบเทียบผลการดําเนินงาน, ประมาณการของงวดนี้ กับผลการดําเนินงาน, ประมาณการสะสม
    6. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของแต่ละสาขา ฝ่าย แผนก หรือ งาน/โครงการ
    7. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานสะสมของปีปัจจุบัน กับ ผลการดำเนินของทั้งปีที่ผ่านมา
    8. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของงวดนี้ของปีนี้ กับ ปีที่แล้ว
    9. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของงวดนี้ย้อนหลัง 5 ปี
    10. เปรียบเทียบผลการดำเนินงานของทั้ง 12 เดือน หรือทั้ง 4 ไตรมาส

Comments are closed.